Saturday, July 14, 2018


คู่มือประกอบการสอน (ภาพสี) ร่วมกับ วีดีโอสื่อการสอนใน Trump drive เพื่อให้คุณสะดวกในการศึกษา และนำไปอ่านทบทวนได้ด้วยตัวเอง
และพิเศษ เมื่อสั่งซื้อการสอนชุดนี้ แถมฟรี คอรส์ออนไลน์การใช้งานโปรแกรม NavisWorks 2018

สิ่งที่ผู้เรียนจะได้เมื่อเรียนจบคอร์สนี้

  • ผู้เรียนสามารถเข้าใจกระบวนการสร้างโปรเจคได้อย่างถูกต้อง
  • สามารถนำ Layout plant เข้ามาร่วมใช้ในแบบด้วยวิธีการ Xref ได้
  • สามารถทราบถึงความสำคัญของ Unit and Coordinate system ใน Layout plan ได้
  • สามารถใช้คำสั่ง Structure เพื่อขึ้นแบบโครงสร้างงานเหล็กได้ (Platform)
  • สามารถสร้าง Parametric Equipment ไว้ใช้งานได้
  • สามารถเข้าไปแก้ไข และเพิ่มอุปกรณ์เข้า Pipespec ได้
  • สามารถใช้งาน 3D Pipe Routing ร่วมกับแบบที่ถูกนำมาอ้างอิงได้
  • สามารถสร้างภาพฉายจากโมเดล ด้วยคำสั่ง Orthographic ได้
  • สามารถตั้ง และปรับแต่งค่า Generate Isometric Piping ได้
  • สามารถใช้ Report Creator เพื่อเรียกใช้รายงานต่างๆในโครงการ หรือ รายการวัสดุได้

ผู้เรียนต้องมีความรู้อะไรมาก่อน

  • พื้นฐานการใช้งาน Computer เบื้องต้น
  • พื้นฐานการใช้งาน AutoCAD เบื้องต้น

สิ่งที่ผู้เรียนจะได้เมื่อเรียนจบคอร์สนี้

  • ผู้เรียนสามารถเข้าใจกระบวนการสร้างโปรเจคได้อย่างถูกต้อง
  • สามารถนำ Layout plant เข้ามาร่วมใช้ในแบบด้วยวิธีการ Xref ได้
  • สามารถทราบถึงความสำคัญของ Unit and Coordinate system ใน Layout plan ได้
  • สามารถใช้คำสั่ง Structure เพื่อขึ้นแบบโครงสร้างงานเหล็กได้ (Platform)
  • สามารถสร้าง Parametric Equipment ไว้ใช้งานได้
  • สามารถเข้าไปแก้ไข และเพิ่มอุปกรณ์เข้า Pipespec ได้
  • สามารถใช้งาน 3D Pipe Routing ร่วมกับแบบที่ถูกนำมาอ้างอิงได้
  • สามารถสร้างภาพฉายจากโมเดล ด้วยคำสั่ง Orthographic ได้
  • สามารถตั้ง และปรับแต่งค่า Generate Isometric Piping ได้
  • สามารถใช้ Report Creator เพื่อเรียกใช้รายงานต่างๆในโครงการ หรือ รายการวัสดุได้

ผู้เรียนต้องมีความรู้อะไรมาก่อน

  • พื้นฐานการใช้งาน Computer เบื้องต้น
  • ​พื้นฐานการใช้งาน AutoCAD เบื้องต้น

เนื้อหาบทเรียน

บทที่ 1. วิธีสร้างโปรเจค การจัดการไฟล์และโฟลเดอร์
บทที่ 2 การสร้าง Parametric Equipment
บทที่ 3 การสร้าง Platform จากคำสั่ง Structure Member
บทที่ 4 การใช้งานคำสั่งในกลุ่ม Piping 3D Routing.
บทที่ 5 เทคนิคการเดินท่อ และการจัดระดับความสูงท่อ
บทที่ 6 การตั้งค่าการแสดงผล Isometric Piping.
บทที่ 7 การสร้างภาพฉาย และการแก้ไข รวมถึงการแสดงรายการวัสดุ
ราคาชุดละ 1,050 บาท ฟรีค่าจัดส่ง
สั่งซื้อเฉพาะคู่มือ ราคา 550 บาท
สั่งซื้อเฉพาะ USB สื่อการสอนราคา 850 บาท
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
086-366-7369 สุรเชษฐ์

Monday, July 17, 2017

How to control 3D Pipe in AutoCAD Plant 3D

จุดเด่นของโปรแกรม AutoCAD Plant 3D ก็คือเรื่องการควบคุมและการจัดการ Piping 3D นี่ล่ะครับ
วันนี้ผมเลยทำวีดีโอสอนวิธีการควบคุม ในการเดินท่อ 3D Piping มาให้ได้ศึกษากัน
สำหรับผม เรื่องนี้ถือเป็นพื้นญานสำคัญในการใช้โปรแกรมนี้เลยครับ
ถ้าใช้ไม่คล่องเนี่ย งานง่ายๆก็จะกลายเป็นงานช้างสุรินท์เลยนะครับ
เรื่องนี้ ก็เหมาะกับมือใหม่หัดใช้มาก แต่มือเก่าก็ควรดูนะครับ ส่วนมากเวลาผมออกไปสอนหนังสือก็จะตกม้าตายกันเยอะพอสมควร
ดูจบแล้วถ้ามีข้อสงสัยใดๆ ก็ทิ้งคำถามไว้ในเพจได้เลยครับ

Topic in VDO

►Select pipe class and size.
►Input pipe length value and move part command.
►Separate pipe by weld pipe command.
►Change pipe size by properties command.
►Substitute part and snap override.
►Continue pipe routing and plane control.
►Base component and cutback elbow command.
►Add Valve component and pipe fitting command.
►Quick and Production Iso.


Wednesday, April 26, 2017

Pipe spacing table

เรื่องระยะของท่อแต่ละขนาดนั้น 
เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่ผมเจอเป็นประจำ 
คือ จำไมไ่ได้น่ะครับ ว่าท่อแต่ละขนาดนั้นต้องห่างกันเท่าไหร่

วันนี้ผมก็เลยนำข้อมมูลบางส่วนของ ระยะห่างในการจัดวางท่อ 
โดยอ้างอิงข้อมูลจากหนังสือ ตารางท่อ สำหรับผู้รับเหมาก่อสร้าง และวิศวกร
ที่ผมมีใช้จนจะขาดอยู่แล้ว นำข้อมูลของขนาดท่อมาลงเป็นบทความไว้ให้อ้างอิงใช้งานกันครับ 

เครดิต 
ตารางท่อ สำหรับผู้รับเหมาก่อสร้างและวิศวกร
ผู้แต่ง : ที กรุ๊ฟ อ๊อฟ เอ็นจิเนียร์

Monday, April 17, 2017

P&ID Data to 3D Pipe routing

P&ID คืออะไร

ในการเขียนแบบงาน 3D Piping โดยปกติแล้ว ข้อมูลของงานท่อที่จะนำมาอ้างอิงหลักๆ ก็คือ งานจาก P&ID ซึ่งมีคำเต็มว่า Piping and Instrument Diagram ครับ ซึ่งแบบจะมีรูปร่างหน้าตาแบบนี้


เพราะฉะนั้น P&ID ก็คือ
แผนผังที่บอกเล่าเรื่องราวการทำงานของกระบวนการนั้นๆ ในรูปแบบของ Diagram
จริงๆงานที่เขียนแบบเชิง Diagram แบบนี้ ไม่ได้มีเฉพาะงานท่ออย่างเดียวนะครับ

  • ถ้างานไฟฟ้า และ อิเล็กทรอนิกส์ เขาจะเรียกว่า Schematic ซึ่งจะแยกย่อยออกมาเป็นภาพใหญ่ (Single line) จนถึงระดับ Detailing (Scheme)ได้อีก ซึงผมจะขอยกยอดไปเล่าต่อในส่วนของหัวข้อ สอนเขียนแบบไฟฟ้าเบื้องต้นนะครับ

ในแบบ P&ID สามารถบอกอะไรเราได้บ้าง

มาตราฐานที่ใช้ในการเขียน 

เอาล่ะสิ แล้วรู้ตัวกันมั้ยว่าคุณเขียน P&ID มาตรฐานอะไรกันอยู่บ้างครับ ถ้าไม่ทราบก็ไม่แปลกหรอกครับ เพราะตอนที่ผมเริ่มทำงานด้านนี้ ผมก็ไม่รู้เหมือนกัน ถ้าเช่นนั้น มาดูกันว่ามีกี่ มาตรฐาน

  • DIN (Geraman Industrial Standard)
  • JIS (Japanese Industrial Standards )
  • ISA (Instrument symbols and  identification )
  • PIP (Process Industry Practices)

ซึ่งอุปกรณ์เดียวกัน แต่อยู่ต่างมาตรฐาน จะให้สัญลักษณ์ ไม่เหมือนกันครับ พอแบบมาถึงเรา เราจับแพะชนแกะกันอย่างสนุกสนานเลยล่ะครับ จากนั้นพอจะรื้อจัดทำระบบให้เป็นมาตรฐานไว้ใช้ในหน่วยงาน ก็ต้องมานั่งคัดแยกกันล่ะครับ 

ต่อมาก็คือ Equipment ครับ

ใน Equipment ก็จะบอกสัญญลักณ์ของอุปกรณ์นั้นๆตามมาตราฐานที่ใช้งานครับ และที่ขาดไม่ได้เลยคือ Tag ซึ่งจะเป็นตัวแยกชนิด และจำนวนของ Equipment ในแต่ละตัวครับ ไม่งั้นเวลาสั่งของ งงแน่ครับ

และต่อไปก็คือ Process line

จะเป็นเส้นที่กำหนดทิศทางของกระบวนการ (Flow Process) นั้นๆครับ โดยปกติแล้วจะต้องถูกเชื่อมต่อกับ Equipment ปลายทาง ซึ่งรายละเอียดที่จะบอกใน Process line ก็จะมีดังนี้ครับ
  • Pipeline tag ซึ่งอย่างน้อยควรที่จะบอกข้อมูลดังนี้ครับ Pipe Diametor, Pipe class, Service, pipe spec, Line number ส่วนอื่นที่เสริมเข้ามาก็จะเป็นพวก Insulation type and thickness ครับ
  • Valve and Instrument  ซึ่งมนส่วนนี้ก็ต้องมี Tag ระบุอย่างชัดเจนเช่นกันครับ เพื่อป้องกันการสับสนเวลาทำรายการวัสดุของโครงการครับ
ซึ่งข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ใน Process line จะถูกนำไปอ้างอิงในการเดินท่อ (Routing) ในงาน Piping 3D ครับ
ซึ่งในโปรแกรม AutoCAD Plant 3D เราสามารถที่จะดึงข้อมูลส่วนนี้มาใช้งานได้เลย ด้วยคำสั่ง
 P&ID data และยังสามารถที่จะ Cross check ระหว่าง P&ID data และ Piping 3D ได้อีกด้วย ลองเข้าไปดูในวีดีโอด้านล่างนะครับ แล้วคุณจะชอบ


Wednesday, November 23, 2016

สอน พื้นฐาน Autocad plant 3D ตอนที่ 9 Isogen

การควบคุมระยะวาล์ว และอุปกรณ์ในแนวท่อ เพื่อทำแบบ Iso gen
การวางอุปกรณ์ในแนวท่อให้ได้ระยะตามที่ต้องนั้น
ถือเป็นเรื่องที่สำคัญมากในงานเขียนแบบครับ
เพราะถ้าหากคุณวางผิดเพี้ยนจากระยะที่กำหนดแล้ว
ก็จะมีผลโดยตรงกับงานประกอบท่อใน shop
หรือที่หน้างานเลยล่ะครับ

มันจะเสียทั้งเวลา เสียทั้งของ และเสียเงินด้วยครับ
ถ้าเช่นนั้นเรามาดูกันเลยครับว่า
ต้องควบคุมอย่างไร
จึงจะได้ดั่งใจต้องการ

สอน Autocad plant 3D ตอนที่ 8 Auto route

สอน พื้นฐาน Autocad plant 3D ตอนที่ 8
วิธีกำหนดแนวท่ออย่างง่ายด้วยคำสั่ง Auto route pipe.

และแล้วก็มาถึงบทเรียนที่หลายท่านรอกัน
ในเรื่องของการเขียนแบบ Piping 3D
ซึ่งผมจะทำให้ดูว่า มันไม่ได้ยากอะไรเล้ยยยย 555
ไครๆก็ทำได้ครับแน่นอนครับ

และไฮไลท์ของบทนี้
คือเรื่อง Auto route pipe.ครับ
คำสั่งนี้ช่วยชีวิตผมมานับครั้งไม่ถ้วนเลยล่ะ

และในตอนถัดไป
เราจะมาว่าในเรื่องของ Inline asset
จะเป็น Component ที่อยู่ในท่อ อย่าง Valve และ Strainer เป็นต้นครับ

พร้อมแล้ว ไปดูกันเลย...

สอน Autocad plant 3D ตอนที่ 7 Create Pump and edit nozzle.

ร้าง Centrifugal Pump และการจัดการ Nozzle ของ Pump

จะเป็นพาร์ทจบของการกำหนด Equipment ในบทเรียนนี้ครับ
ซึ่งผมได้อธิบายถึงการกำหนดขนาด และการแก้ไข Nozzle ของตัว Pump เอง
เมือทำตามวีดีโอนี้เรียบร้อยแล้ว
ก็เตรียมสนุกกับบทเรียน Auto Route ได้เลยครับ